วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558

ทฤษฏีจำนวนเบื้องต้น

ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
การหารลงตัว
     บทนิยาม   กำหนด a, b เป็นจำนวนเต็มใดๆ โดยที่ b ≠ 0  b หาร a ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนเต็ม n
         ที่ทำให้ a = bn และเขียนแทน “b หาร a ลงตัว” ได้ด้วยสัญลักษณ์ b | a
 จากบทนิยาม ถ้า b หาร a ไม่ลงตัว แสดงว่าไม่มีจำนวนเต็ม n ที่ทำให้ a = bn
และ เขียนแทน “b หาร a ไม่ลงตัว” ได้ด้วยสัญลักษณ์ b † a
ตัวอย่างเช่น      3 | 9 เพราะมี n = 3 ที่ทำให้  9 = 3n
                      -5 | 10 เพราะมี n = -2 ที่ทำให้ 10 = +5n
                         6 | 0 เพราะมี n = 0 ที่ทำให้ 0 = 6n

จำนวนจริง

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จํานวนจริง
จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…}
- เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I
- เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I
                   I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}
- เซตของจำนวนตรรกยะ : เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน      โดยที่ a,b เป็นจำนวนเต็ม  และ b = 0

อ่านต่อเพิ่มเติม

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ความหมายของศัพท์ตรรกศาสตร์
          คำว่า “ตรรกศาสตร์” ได้มาจากศัพท์ภาษาสันสฤตสองศัพท์ คือ ตรฺรก และศาสตฺร ตรรก หมายถึง การตรึกตรอง ความคิด ความนึกคิด และคำว่า ศาสตฺร หมายถึง วิชา ตำรา รวมกันเข้าเป็น“ตรรกศาสตร์” หมายถึง วิชาว่าด้วยความนึกคิดอย่างเป็นระบปราชญ์ทั่วไปจึงมีความเห็นร่วมกันว่า ตรรกศาสตร์ คือ วิชาว่าด้วย การใช้กฎเกณฑ์
การใช้เหตุผล....อ่านต่อเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตรรกศาสตร์